วิดิโอการเรียนรู้


อิเล็กทรอนิกส์ เบื้องต้น
.......................................................................................................................................

วิธีการอ่านค่าตัวต้านทาน


.........................................................................................................................................

การต่อวงจรแบบอนุกรม และ วงจรแบบขนาน


...............................................................................................................................................


วงจรแบบอนุกรม (Series)

1.วงจรแบบอนุกรม (Series)

ความหมายของวงจรอนุกรม

คือ การต่อแบบนี้กระแสที่ไหลผ่านอุปกรณ์แต่ละตัวเท่ากันแรงดันจากแบตเตอรี่จะถูกแบ่งระหว่างหลอดทั้งสองหากหลอดเหมือนกัน แต่ละหลอดจะมีแรงดันครึ่งหนึ่งของแรงดันแบตเตอรี่

            การต่อวงจรแบบอนุกรม

คือ หากสวิทช์ปิด-เปิดหลายตัวต่ออนุกรมกัน สวิทช์ทั้งหมดต้องต่อถึงจะครบวงจรในแผนภาพแสดงวงจรง่าย ๆ ที่ใช้สวิทช์สองตัวต่ออนุกรมกันเพื่อควบคุมหลอดไฟเมื่อสวิทช์  S1   และ สวิทช์  S2 ต่อ (closed) หลอดก็จะติด ถ้ามีสวิทช์ใดสวิทช์หนึ่งเสีย หลอดจะไม่ติด


รูปที่ 1 การต่อวงจรสวิทช์แบบอนุกรม
        
        การคำนวณวงจรอนุกรม











วงจรแบบขนาน (Parallel)

2.วงจรแบบขนาน (Parallel)


ความหมายของวงจรขนาน

     คือ การต่อแบบนี้อุปกรณ์แต่ละตัวจะมีแรงดันเท่ากันหลอดทั้งสองมีแรงดันเต็มจากแบตเตอรี่ตกคร่อมกระแสจากแบตเตอรี่จะแบ่งระหว่างหลอดทั้งสอง

การต่อวงจรแบบขนาน

      คือ หากสวิทช์ปิด-เปิดหลายตัวต่อขนานกัน สวิทช์ต่อเพียงตัวเดียวก็ครบวงจรในแผนภาพแสดงวงจรง่ายๆที่ใช้สวิทช์สองตัวต่อขนานกันเพื่อควบคุมหลอดไฟ เมื่อสวิทช์ S1 หรือ สวิทช์ S2 (หรือทั้งสอง) ต่อ (closed) หลอดก็จะติด ถ้ามีสวิทช์ใดสวิทช์หนึ่งเสีย หลอดจะติด


รูปที่ 2 การต่อวงจรสวิทช์แบบขนาน


การคำนวณวงจรขนาน















ในการคิดคำนวณค่าความต้านทานที่ต่อขนานกัน 2 ตัว จะใช้สูตรใดในการคำนวณก็ได้ ผลรวมจะ

ได้เท่ากัน และถ้าค่าความต้านทานมีค่าเท่ากันทั้ง 2 ตัว คำตอบที่ได้จะลดลงครึ่งหนึ่ง





วงจรผสม

3.วงจรผสม

      
        ความหมายของวงจรผสม

       คือ การนำโหลดมาต่ออนุกรมและขนานร่วมกันภายในวงจรเดียวกัน

      
       การต่อวงจรแบบผสม




รูปที่ 3 การต่อวงจรแบบผสม




         การคำนวณวงจรขนาน



เขียนวงจรใหม่ได้ดังนี้



เขียนวงจรใหม่ได้ดังนี้






เขียนวงจรใหม่ได้ดังนี้



เขียนวงจรใหม่ได้ดังนี้

การวัดค่าความต้านทาน

การวัดค่าความต้านทาน



1นำมัลติมิเตอร์ตั้งย่านวัดโอห์ม ในกรณีที่เป็นมิเตอร์แบบเข็มให้ทำการปรับค่าศูนย์ (Zero Ohm Adjust) ก่อนที่จะดำเนินการขั้นตอนต่อไป
2นำสายวัดของมัลติมิเตอร์เส้นที่หนึ่งสัมผัสกับขาของตัวต้านทานด้านหนึ่ง
3นำสายวัดของมัลติมิเตอร์เส้นที่สองสัมผัสกับขาของตัวต้านทานอีกด้านหนึ่ง
4อ่านค่าความต้านทาน




การวัดค่าแรงดันตกคร่อม


1นำมัลติมิเตอร์ตั้งย่านวัดแรงดันไฟตรง (DCV) ให้มากกว่าแหล่งจ่าย (E)
2นำสายด้านไฟบวกของมัลติมิเตอร์ สัมผัสกับด้านไฟบวกของตัวต้านทาน R1
3นำสายด้านไฟลบของมัลติมิเตอร์ สัมผัสกับด้านไฟลบของตัวต้านทาน R1
4อ่านค่าแรงดันตกคร่อมความต้านทาน R1
5ทำขั้นตอนที่ 1-4 เพื่อวัดค่าแรงดันตกคร่อมตัวต้านทาน R2 และ R3


การวัดค่ากระแสไฟฟ้าในวงจรอนุกรม


1นำมัลติมิเตอร์ตั้งย่านวัดกระแส (mA) ให้มีค่าสูงไว้ก่อน
2นำสายด้านไฟบวกของมัลติมิเตอร์ต่ออนุกรมเข้ากับด้านไฟบวกของแหล่งจ่ายไฟ
3นำสายด้านไฟลบของมัลติมิเตอร์ต่ออนุกรมเข้ากับด้านไฟลบของแหล่งจ่ายไฟ
4อ่านค่ากระแสที่ไหลผ่านในวงจร



การวัดค่าแรงดันตกคร่อมในวงจรขนาน

การวัดค่าแรงดันตกคร่อมในวงจรขนาน

1นำมัลติมิเตอร์ตั้งย่านวัดแรงดันไฟตรง (DCV) ให้มากกว่าแหล่งจ่าย (E)

2นำสายด้านไฟบวกของมัลติมิเตอร์ สัมผัสกับด้านไฟบวกของตัวต้านทาน R1
3นำสายด้านไฟลบของมัลติมิเตอร์ สัมผัสกับด้านไฟลบของตัวต้านทาน R1
4อ่านค่าแรงดันตกคร่อมความต้านทาน R1
5ทำขั้นตอนที่ 1-4 เพื่อวัดค่าแรงดันตกคร่อมตัวต้านทาน R2 และ R






การวัดค่ากระแสไฟฟ้าในวงจรขนาน

1นำมัลติมิเตอร์ตั้งย่านวัดกระแส (mA) ให้มีค่าสูงไว้ก่อน

2นำสายด้านไฟบวกของมัลติมิเตอร์ต่ออนุกรมเข้ากับด้านไฟบวกของแหล่งจ่ายไฟ
3นำสายด้านไฟลบของมัลติมิเตอร์ต่ออนุกรมเข้ากับด้านไฟลบของแหล่งจ่ายไฟ
4อ่านค่ากระแสที่ไหลผ่านในวงจร





การวัดค่าแรงดันตกคร่อมในวงจรผสม

การวัดค่าแรงดันตกคร่อมในวงจรผสม


1นำมัลติมิเตอร์ตั้งย่านวัดแรงดันไฟตรง (DCV) ให้มากกว่าแหล่งจ่าย (E)
2นำสายด้านไฟบวกของมัลติมิเตอร์ สัมผัสกับด้านไฟบวกของตัวต้านทานที่จะวัด
3นำสายด้านไฟลบของมัลติมิเตอร์ สัมผัสกับด้านไฟลบของตัวต้านทานที่จะวัด
4อ่านค่าแรงดันตกคร่อมความต้านทาน

การวัดค่ากระแสไฟฟ้าในวงจรผสม


1นำมัลติมิเตอร์ตั้งย่านวัดกระแส (mA) ให้มีค่าสูงไว้ก่อน
2นำสายด้านไฟบวกของมัลติมิเตอร์ต่ออนุกรมเข้ากับด้านไฟบวกของแหล่งจ่ายไฟ
3นำสายด้านไฟลบของมัลติมิเตอร์ต่ออนุกรมเข้ากับด้านไฟลบของแหล่งจ่ายไฟ
4อ่านค่ากระแสที่ไหลผ่านในวงจร